Search Result of "Agronomic characters"

About 23 results
Img

ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ

Heterosis of Agronomic Characters in Jatropha (Jatropha curcas L.)

ผู้แต่ง:ImgMaung Maung Tar, ImgDr.Patcharin Tanya, Associate Professor, ImgDr.Peerasak Srinives, Professor,

วารสาร:

Img

Img
Img
Img
Img

ที่มา:วิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขา วิทยาศาสตร์

หัวเรื่อง:ไม่มีชื่อไทย (ชื่ออังกฤษ : Heterosis of Agronomic Characters in Jatropha (Jatropha curcas L.))

ผู้เขียน:ImgMaung Maung Tar, Imgดร.พัชรินทร์ ตัญญะ, รองศาสตราจารย์, Imgดร.พีระศักดิ์ ศรีนิเวศน์, ศาสตราจารย์

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract

An approach to increase the productivity of jatropha (Jatropha curcas L.) is to exploit hybrid vigor of the F1 progeny for possible production of hybrid varieties. In the current study, three toxic accessions (high phorbol ester) from each of Myanmar and Thailand were crossed with non-toxic accession (low phorbol ester) from Mexico. Six F1 progenies and their parents were determined for the degree of heterosis at Kasetsart University, Thailand. Individual plants from each progeny were observed on major agronomic characters at various growth stages. Heterosis of individual characters in each cross were calculated and tested for significance by a t-test. Four crosses showed significant heterosis in yield per plant. Crosses showing heterosis in yield also showed heterosis in characters related to seedlings, mature fruits, plant growth, and fruit and seed size. Superiority over mid-parent for yield per plant ranged from 32.50% to 262.92%, and over better parent ranged from 11.74% to 195.93%. Across all characters, crosses showing the highest heterosis over mid- parent and better parent were Myanmar 2 ? Mexico and Myanmar 3 ? Mexico.

Article Info
Agriculture and Natural Resources -- formerly Kasetsart Journal (Natural Science), Volume 045, Issue 4, Jul 11 - Aug 11, Page 583 - 593 |  PDF |  Page 

Img

ที่มา:วิทยานิพนธ์ ปริญญาเอก (จาก: บัณฑิตวิทยาลัย มก. และสำนักหอสมุด มก.)

หัวเรื่อง:Effects of Chitosan on Agronomic Characters and Some Physiological Parameters in Rice (Oryza sativa L.) under Drought Stress and Normal Conditions

ผู้เขียน:Imgสุชาดา บุญเลิศนิรันดร์

ประธานกรรมการ:Imgนางอิสรา สุขสถาน, รองศาสตราจารย์

กรรมการวิชาเอก:Imgดร.เอ็จ สโรบล, ศาสตราจารย์

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract


Dissertation/Thesis Info
Abstract  (cache) |  Full text  (cache)  | Page  (Info)

Img

ที่มา:วิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขา วิทยาศาสตร์

หัวเรื่อง:ไม่มีชื่อไทย (ชื่ออังกฤษ : Identifying QTLs for Fiber Content and Agronomic Characters in Sugarcane Using AFLP Markers)

ผู้เขียน:ImgSomwung Anusonpornpurm, Imgดร.เรวัต เลิศฤทัยโยธิน, รองศาสตราจารย์, ImgChinarong Rattanakreetakul, Imgดร.อรินทิพย์ ธรรมชัยพิเนต, ศาสตราจารย์, Imgนายพิพัฒน์ วีระถาวร

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract

Sugarcane is a highly complex poly-aneuploid, heterozygous, interspecific polyploid and cultivars commonly have over 100 chromosomes. The population of 168 progenies from a cross between a sugarcane commercial variety (K 93-207) and a S. spontaneum clone (MPT 97-1) were evaluated in a replicated field trial. Stalk diameter and tillering were recorded at harvesting and subsequently plant material was evaluated for fiber content. Clones were significantly different (P<0.01) for all traits analyzed. A total of 180 AFLP simplex markers were used to analyze the inheritance of quantitative trait loci (QTLs) for stalk diameter, tillering and fiber content. Thirty putative QTLs from the simplex markers were identified for these three traits. Each QTL explained from 3.7 to 10.7% of the variation for stalk diameter and 3.7 to 9.9% for fiber content. For tillering each QTL explained from 4-8% of the variation. K 93-207 contributed a positive effect to the QTLs for stalk diameter and a negative effect for the QTLs for fiber content and tillering. MPT 97-1 contributed a negative effect to the QTLs for stalk diameter and a positive effect for fiber content and tillering. Ten of the QTLs from both parents were identified as contributing to more than one trait. However, these markers were not available for all parts of this very highly complex genome. Further work will be needed to identify more markers in this population.

Article Info
Agriculture and Natural Resources -- formerly Kasetsart Journal (Natural Science), Volume 042, Issue 4, Oct 08 - Dec 08, Page 668 - 675 |  PDF |  Page 

Img
Img

ที่มา:วิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขา วิทยาศาสตร์

หัวเรื่อง:ไม่มีชื่อไทย (ชื่ออังกฤษ : Relationship of Root with Other Agronomic Characters in F2 Generation of Rice Cross )

ผู้เขียน:ImgPannee Dhitaphichit, Imgนายชัยฤกษ์ มณีพงษ์, รองศาสตราจารย์

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract

ข้าวที่ปลูกโดยอาศัยน้ำฝนตามธรรมชาติ มักจะได้รับผลกระทบกระเทือนจากความแห้งแล้ง ในระยะที่ฝนทิ้งช่วงเป็นเวลานาน พันธุ์ข้าวที่มีระบบรากลึก สามารถรับความชื้นจากดินในระดับลึก ได้ดีกว่าพันธุ์ข้าวที่มีระบบรากตื้น (1) จากการศึกษาข้าวไร่ ส่วนมากมีระบบรากที่ยาวและแข็งแรง จึงสามารถทนทานความแห้งแล้งได้ดีกว่าข้าวนาสวน (3) อย่างไรก็ตามข้าวไร่ส่วนมากมีลำต้นสูงและแตกกอน้อย ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ผลผลิตต่ำ นักปรับปรุงพันธุ์ข้าวสนใจในการที่จะรวมลักษณะที่ต้องการ เช่นต้นสูงปานกลางแตกกอมากและมีระบบรากยาว เข้าไว้ด้วยกัน ความรู้ด้านความสัมพันธ์ ระหว่างลักษณะต่างๆ ของต้นข้าวรวมทั้งระบบราก อาจนำไปใช้ในการผสมพันธุ์เพื่อทนทานความแห้งแล้งในอนาคต

Article Info
Agriculture and Natural Resources -- formerly Kasetsart Journal (Natural Science), Volume 010, Issue 1, Jan 76 - Jun 76, Page 54 - 56 |  PDF |  Page 

Img

ที่มา:วิทยานิพนธ์ ปริญญาเอก (จาก: บัณฑิตวิทยาลัย มก. และสำนักหอสมุด มก.)

หัวเรื่อง:การตรวจสอบตำแหน่งยีนที่ควบคุมลักษณะปริมาณเส้นใยและลักษณะทางพืชไร่ในอ้อยโดยใช้เครื่องหมายโมเลกุลเอเอฟแอลพี

ผู้เขียน:Imgสมหวัง อนุสนธิ์พรเพิ่ม

ประธานกรรมการ:Imgดร.เรวัต เลิศฤทัยโยธิน, รองศาสตราจารย์

กรรมการวิชาเอก:Imgนายพิพัฒน์ วีระถาวร, Imgดร.ชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล, รองศาสตราจารย์

กรรมการวิชารอง:Imgดร.อรินทิพย์ ธรรมชัยพิเนต, ศาสตราจารย์

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract


Dissertation/Thesis Info
Abstract  (cache) |  Full text  (cache)  | Page  (Info)

Img

ที่มา:วิทยานิพนธ์ ปริญญาโท (จาก: บัณฑิตวิทยาลัย และ สำนักหอสมุด มก.)

หัวเรื่อง:ความหลากหลายทางพันธุกรรมของกระถินในประเทศไทยโดยใช้ลักษณะทางสัณฐานวิทยาและลักษณะทางเกษตร

ผู้เขียน:Imgศิริพร ภู่แพร

ประธานกรรมการ:Imgดร.ประภา ศรีพิจิตต์, รองศาสตราจารย์

กรรมการร่วม:Imgดร.ธานี ศรีวงศ์ชัย, รองศาสตราจารย์, Imgดร.สายัณห์ ทัดศรี, ศาสตราจารย์

Img
Img

ที่มา:วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร

หัวเรื่อง:การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของสบู่ดำ (Jatropha curcas L.) โดยอาศัยลักษณะทางสัณฐานวิทยาและลักษณะทางการเกษตร

Img

ที่มา:วิทยานิพนธ์ ปริญญาโท (จาก: บัณฑิตวิทยาลัย และ สำนักหอสมุด มก.)

หัวเรื่อง:การวิเคราะห์เส้นทางความสัมพันธ์ของลักษณะผลผลิต องค์ประกอบผลผลิต และลักษณะทางการเกษตรบางประการในถั่วเหลือง

ผู้เขียน:Imgพรทิพย์ มังกรแก้ว

ประธานกรรมการ:Imgดร.รังสฤษดิ์ กาวีต๊ะ, รองศาสตราจารย์

กรรมการร่วม:Imgดร.ชูศักดิ์ จอมพุก, รองศาสตราจารย์

Img

ที่มา:การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 47

หัวเรื่อง:อ้อยผลผลิตสูง พันธุ์กำแพงแสน 00-1-103

Img

Researcher

ดร. เรวัต เลิศฤทัยโยธิน, รองศาสตราจารย์

ที่ทำงาน:ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร กำแพงแสน

สาขาที่สนใจ:การปรับปรุงพันธุ์พืช การปรับปรุงพันธุ์อ้อย, การปรับปรุงพันธุ์ข้าวบาเลย์เพื่อคุณภาพมอลท์, การปรับปรุงพันธุ์ละหุ่ง, การผลิตมันฝรั่ง, การเก็บรักษาเชื้อพันธุกรรมพืชโดยเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื้อและCryopreservation

Resume

Img

Researcher

นาย สกล ฉายศรี

ที่ทำงาน:ศูนย์วิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร คณะเกษตร

สาขาที่สนใจ:ปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลัง, ปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดหวาน

Resume

Img

ที่มา:วิทยานิพนธ์ ปริญญาเอก (จาก: บัณฑิตวิทยาลัย มก. และสำนักหอสมุด มก.)

หัวเรื่อง:พันธุกรรมที่ควบคุมลักษณะทางการเกษตรที่สำคัญในถั่วฝรั่ง

ผู้เขียน:Imgจิระ สุวรรณประเสริฐ

ประธานกรรมการ:Imgดร.สนธิชัย จันทร์เปรม, รองศาสตราจารย์

กรรมการวิชาเอก:Imgดร.พีระศักดิ์ ศรีนิเวศน์, ศาสตราจารย์

กรรมการวิชารอง:Imgธีรยุทธ ตู้จินดา*

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract


Dissertation/Thesis Info
Abstract  (cache) |  Full text  (cache)  | Page  (Info)

Img

งานวิจัย

การศึกษาลายพิมพ์ดีเอ็นเอโดยใช้เครื่องหมายโมเลกุลในสบู่ดำ (2008)

หัวหน้าโครงการ:Imgดร.วิภา หงษ์ตระกูล, รองศาสตราจารย์

แหล่งทุน:ทุนอุดหนุนวิจัยมก.

ผลลัพธ์:วารสาร (2)

Img
12